![]() |
Solar farm |
ขนาดของธุรกิจโรงไฟฟ้า
โดยปัจจุบ้นการแบ่งผู้ผลิตไฟฟ้า มี 3 แบบ คือ
1. ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (ไอพีพี)
(Independent Power Producer-IPP)
ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระจะเป็นผู้ผลิตเอกชนที่ใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ ในการผลิตไฟฟ้า เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน โดยมีกำลังการผลิตค่อนข้างสูงเพื่อให้มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
3. ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (วีเอสพีพี)
(Very Small Power Plant - SPP)
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็กมาก ที่มีกำลังผลิตไฟฟ้าที่ขายเข้าระบบต่ำกว่า 10 เมกะวัตต์ เช่นผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน
ส่วนประกอบหลักๆ ของระบบโซล่าฟาร์ม
โดยส่วนประกอบหลักทั้งหมด 3 ส่วน
1. ชุดแผงโซล่าเซลล์
ในระบบโซล่าฟาร์มนั้นแผงโซล่าเซลล์นั้นจะมีจำนวนมาก ซึ่งจะใช้ขนาดแผงที่มีกำลังมากๆเพื่อลดจำนวนพื้นที่ในการติดตั้ง แผงที่ใช้เช่น ขนาด 500W 630W เป็นต้น
2. อินเวอร์เตอร์
อินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบโซล่า ฟาร์มนั้นเป็น central inverter ซึ่งเป็นการเรียกชื่ออินเวอร์เเตอร์ที่ มีขนาดใหญ่กำลังมากๆ ซึ่งจะเป็น ต่อการใช้ในระบบโซล่าฟาร์มขนาด ใหญ่ เช่น ขนาดกำลัง 500 kW 630 kW เป็นต้น
3. หม้อแปลงกำลัง
หม้อแปลงไฟฟ้าใช้ในการแปลงไฟฟ้าเพื่อให้อยู่ระดับแรงดันเดียวกันกับระบบจำหน่ายเพื่อขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้า
ขั้นตอนลักษณะการออกแบบระบบโซล่าฟาร์ม
ในประเทศไทยนั้นเป็นการออกแบบในลักษณะทที่เรียกว่า Undersize inverter design เนื่องจากอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมรอบๆหรืออุณหภูมิโดยทั่วไปมากกว่า 25 องศาเซียลเซียส ดังนั้นจึงมีปัจจัยในด้านอุณหภูมิที่ทำให้ประสิทธิภาพจากแผงลดลง
1. ต้องวางไดอะแกรมการออกแบบเพื่อคำนวณกำลังให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตที่ต้องการ โดยเริ่มจากแผงโซล่าเซลล์นั้นคำนวณจำนวนแผงที่ได้โดยนำกำลังการผลิตมาหารกับกำลังของแผง
2. อินเวอร์เตอร์ จากไดอะแกรมนั้นก่อนเข้าถึงตัวอินเวอร์เตอร์นั้น เกิดความสูญเสียระหว่างสายและประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์รวมกันประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นกำลังเอาท์พุตที่เป็นด้านกระแสสลับ จะเหลือ 80 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับกำลังของชุดแผง 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นขนาดของอินเวอร์เตอร์ทั้งหมดจึงเท่ากับ 0.8 เท่าของกำลังแผงทั้งหมด
ส่วนจำนวนอินเวอร์เตอร์นั้นต้องพิจารณาการต่อของชุดแผงด้วยซึ่งแรงดันและกระแสที่ได้ต้องสอดคล้องกับอินเวอร์เตอร์ต้องคำนวณออกมาจากข้อมูลทาง datasheet จึงจะทำให้ทราบจำนวนอินเวอร์เตอร์
3. หลังจากออกอินเวอร์เตอร์แล้ว แรงดันเอาท์พุตด้านกระแสสลับของอินเวเอร์เตอร์นั้นยังไม่ตรงกับระดับแรงดันของการไฟฟ้า ดังนั้นจึงต้องมีหม้อแปลงแปลงแรงดันให้อยู่ระดับเดียวกับการไฟฟ้าเพื่อขายให้กับการไฟฟ้า ขนาดของหม้อแปลงต้องมากกว่าหรือเท่ากับกำลังของแผงทั้งหมด
2. ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (เอสพีพี)
(Small Power Plant - SPP)
(Small Power Plant - SPP)
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ที่มีกำลังผลิตไฟฟ้าที่ขายเข้าระบบ 10-90 เมกะวัตต์
3. ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก (วีเอสพีพี)
(Very Small Power Plant - SPP)
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็กมาก ที่มีกำลังผลิตไฟฟ้าที่ขายเข้าระบบต่ำกว่า 10 เมกะวัตต์ เช่นผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน
ส่วนประกอบหลักๆ ของระบบโซล่าฟาร์ม
โดยส่วนประกอบหลักทั้งหมด 3 ส่วน
1. ชุดแผงโซล่าเซลล์
ในระบบโซล่าฟาร์มนั้นแผงโซล่าเซลล์นั้นจะมีจำนวนมาก ซึ่งจะใช้ขนาดแผงที่มีกำลังมากๆเพื่อลดจำนวนพื้นที่ในการติดตั้ง แผงที่ใช้เช่น ขนาด 500W 630W เป็นต้น
![]() |
แผงโซล่าเซลล์ในระบบโซล่าฟาร์ม |
![]() |
Central Inverter |
2. อินเวอร์เตอร์
อินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในระบบโซล่า ฟาร์มนั้นเป็น central inverter ซึ่งเป็นการเรียกชื่ออินเวอร์เเตอร์ที่ มีขนาดใหญ่กำลังมากๆ ซึ่งจะเป็น ต่อการใช้ในระบบโซล่าฟาร์มขนาด ใหญ่ เช่น ขนาดกำลัง 500 kW 630 kW เป็นต้น
![]() |
Transfromer |
3. หม้อแปลงกำลัง
หม้อแปลงไฟฟ้าใช้ในการแปลงไฟฟ้าเพื่อให้อยู่ระดับแรงดันเดียวกันกับระบบจำหน่ายเพื่อขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้า
ขั้นตอนลักษณะการออกแบบระบบโซล่าฟาร์ม
ในประเทศไทยนั้นเป็นการออกแบบในลักษณะทที่เรียกว่า Undersize inverter design เนื่องจากอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมรอบๆหรืออุณหภูมิโดยทั่วไปมากกว่า 25 องศาเซียลเซียส ดังนั้นจึงมีปัจจัยในด้านอุณหภูมิที่ทำให้ประสิทธิภาพจากแผงลดลง
![]() |
ไดอะแกรมการออกแบบระบบโซล่าฟาร์ม |
1. ต้องวางไดอะแกรมการออกแบบเพื่อคำนวณกำลังให้สอดคล้องกับกำลังการผลิตที่ต้องการ โดยเริ่มจากแผงโซล่าเซลล์นั้นคำนวณจำนวนแผงที่ได้โดยนำกำลังการผลิตมาหารกับกำลังของแผง
2. อินเวอร์เตอร์ จากไดอะแกรมนั้นก่อนเข้าถึงตัวอินเวอร์เตอร์นั้น เกิดความสูญเสียระหว่างสายและประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์รวมกันประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นกำลังเอาท์พุตที่เป็นด้านกระแสสลับ จะเหลือ 80 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับกำลังของชุดแผง 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นขนาดของอินเวอร์เตอร์ทั้งหมดจึงเท่ากับ 0.8 เท่าของกำลังแผงทั้งหมด
![]() |
Feedback Loop of Solar Inverter |
ส่วนจำนวนอินเวอร์เตอร์นั้นต้องพิจารณาการต่อของชุดแผงด้วยซึ่งแรงดันและกระแสที่ได้ต้องสอดคล้องกับอินเวอร์เตอร์ต้องคำนวณออกมาจากข้อมูลทาง datasheet จึงจะทำให้ทราบจำนวนอินเวอร์เตอร์
![]() |
Solar Energy System |
3. หลังจากออกอินเวอร์เตอร์แล้ว แรงดันเอาท์พุตด้านกระแสสลับของอินเวเอร์เตอร์นั้นยังไม่ตรงกับระดับแรงดันของการไฟฟ้า ดังนั้นจึงต้องมีหม้อแปลงแปลงแรงดันให้อยู่ระดับเดียวกับการไฟฟ้าเพื่อขายให้กับการไฟฟ้า ขนาดของหม้อแปลงต้องมากกว่าหรือเท่ากับกำลังของแผงทั้งหมด
![]() |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น